สงวนลิขสิทธิ์ ๒๕๕๑-๒๕๖๐ โดย ศูนย์ธรรมชาติศึกษาไทย แก้ไขล่าสุด มกราคม ๒๕๖๐

@ บันทึกกิจกรรม
@ บันทึกธรรมชาติและการเดินทาง
@ ห้องสมุดธรรมชาติวิทยา
@ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ
Education Activities 2017

@ Wildlife Education #1
@ Young Naturalist
@ Amateur Nature Explorer
@ Nature Interpretation for Trainer
@ IPM in permaculture
@ Science Talent Youth Camp

หน้าหลัก เกี่ยวกับเรา บทความ เอกสารเผยแพร่ ผลงานของเรา โครงการวิจัย อาสาสมัคร งานบริการ
เรียนรู้ธรรมชาติเพื่อชีวิต
หน่วยปฏิบัติการธรรมชาติวิทยา
* หน่วยวิจัยป่าชุมชนดงใหญ่
* หน่วยปฏิบัติการภาคตะวันออก
* หน่วยปฏิบัติการภาคใต้
* หน่วยปฏิบัติการถ้ำและเขาหินปูน
* หน่วยปฏิบัติการภาคเหนือ
ห้องเรียนพันธุ์พืช
ธรรมชาตินานาสัตว์
ห้องเรียนนิเวศวิทยา
ห้องเรียนชุมชนท้องถิ่น
บันทึกกิจกรรมค่ายเยาวชนย้อนหลัง
@ ค่ายโรงเรียนพิชญศึกษา
@ ค่ายวิทย์ ฯ โรงเรียนจิตรลดา
@ ค่ายเยาวชนบ้านกองดิน
@ ค่ายวิทย์ ฯ โรงเรียนวัดไผ่ตัน

@ ค่ายการเคหะแห่งชาติ สมุทรสาคร
@ ค่ายอนุรักษ์สัตว์ป่า โรงงานยาสูบ
@ ค่ายสืบทอดภูมิปัญญา ฯ
@ ค่ายล้านแสงหิ่งห้อย ฯ
@ ค่ายเขาใหญ่ การเคหะแห่งชาติ
@ ค่ายวิทย์ รร.มัธยมมีชัยพัฒนา
@ ค่ายวิทย์ รร. เทศบาลวัดดอนไก่ดี
@ ค่ายรักษ์น้ำ รร. วัดสุขไพรวัน
@ ค่ายวิทย์ รร. เบญจมราชรังสฤษดิ์
@ ค่ายเยาวชน สิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
ห้องเรียนคนทำค่าย
บทนำ ท่ามกลางกระแสพัฒนาที่รวดเร็ว ทำให้ทรัพยากรธรรมชาติถูกคุกคามอย่างหนัก โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้ พื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนแปลงเป็นพื้นที่เกษตรกรรรม ไม้เว้นแต่พื้นที่ป่าต้นน้ำชั้นหนึ่ง A ส่งผลต่อการสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตโดยรู้เท่าไม่ถึงการ บางชนิดพันธุ์ตกอยู่ในสภาพถิ่นอาศัยถูกคุกคามอย่างหนัก นอกจากนั้นยังมีอีกหลายชนิดที่ไม่ทราบชื่อและไม่มีข้อมูลมาก่อน จึงทำให้การอนุรักษ์และฟื้นฟูประชากรเป็นไปอย่างยากลำบาก การสำรวจและศึกษาข้อมูลพื้นฐานจึงเป็นสิ่งสำคัญในอันดับแรก ก่อนจะนำข้อมูลในการจัดการต่อไป ศูนย์ธรรมชาติศึกษาไทยได้เล็งเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย จึงได้จัดโครงการนักสำรวจธรรมชาติรุ่นเยาว์ขึ้น เพื่อพัฒนาความรู้ทักษะในการสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อการอนุรักษ์ และเป็นการเผยแพร่ความรู้ด้านธรรมชาติวิทยา รวมทั้งข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย
Thailand Amateur Nature Explorer Project
เห็ดและราขนาดใหญ่
รูปแบบการดำเนินการ
การดำเนินการในรูปแบบการอาสาสมัครของผู้ร่วมกิจกรรม โดยจัดเป็นในรูปแบบทริป ผู้ร่วมสำรวจต้องเสียค่าใช้จ่ายเท่าที่จำเป็น แบบหารเฉลี่ย ศูนย์ธรรมชาติศึกษาไทยมีหน้าที่ประสานงานกับเจ้าของพื้นที่ เช่น ประธานป่าชุมชน หัวหน้าหรือผู้นำชุมชน ในกรณีที่เป็นป่าชุมชน ในกรณีที่เป็นพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ป่าสงวน หรือป่าไม้ตาม พรบ. ป่าไม้ ๒๔๘๔ จะทำการประสานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ การสำรวจในรูปแบบศึกษาธรรมชาติ ไม่มีการเก็บตัวอย่าง หรือทำอันตรายใดใดแก่ทรัพยากรในพื้นที่ เว้นแต่จะได้รับการอนุญาตจากผู้รับผิดชอบ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นการสำรวจจะอาัศัยภาพถ่ายเป็นหลัก เมื่อได้ข้อมูลจะทำการรายงานให้กับเจ้าของพื้นทีทราบ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อไป
ร่วมแสดงความคิดเห็นที่นี่

มุมสาระความรู้ กล้วยไม้ เฟิน ไม้ยืนต้น ไม้เลื้อย หญ้า เห็ดราขนาดใหญ่ มอส ไลเคน สาหร่าย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก นก แมลง แมงมุม แมงป่อง กิ้งกือ ไส้เดือน ปลา หอยแห่งท้องทะเล หอยน้ำจืด หอยทากบก ปู กุ้งและกั้ง ป่าไม้เมืองไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความหลากหลายทางชีวภาพ สภาวะโลกร้อน สึนามิ
ห้องเรียนธรรมชาติวิทยา

กำหนดการกิจกรรมประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๐
ครั้งที่ ๑ ป่าดงดิบชื้นแบบมลายัน ณ ป่าฮาลาบาล
๑๓-๑๖ เมษายน ๒๕๖๐
ครั้งที่ ๒ ป่าดิบเขา clound forest อช.ดอยอินทนนท์
๘-๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐
ครั้งที่ ๑ : ค้นพบป่าดิบชื้นดินแดนตะวันออก ณ สอยดาวใต้
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาว จันทบุรี ๙-๑๑ ธันวาคม ๒๕๖๐

-